โรงพยาบาลธนบุรี

ศูนย์หัวใจ

ห้องตรวจและเครื่องมือทางการแพทย์ศูนย์หัวใจ

  • ศูนย์บริการผู้ป่วยนอกโรคหัวใจ
  • ห้องตรวจวินิจฉัยด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง(Doppler Echocardiography)
  • ห้องทดสอบสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย(Exercise Stress Test)
  • ห้องตรวจคลื่นไฟฟ้าในหัวใจ(EKG)
  • ห้องตรวจปฏิบัติการสวนหัวใจ(CATH LAB)
  • ห้องผ่าตัดหัวใจ
  • ห้องบำบัดผู้ป่วยหนักโรคหัวใจ 14 เตียง(Critical Cardiac Care Unit)
  • เครื่องเฝ้าดูคลื่นหัวใจแบบไร้สายชนิดพกพา(Holter Monitor)
  • ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ(Cardiac Rehabilitation Center)
  • เครื่องช่วยพยุงการทำงานของหัวใจ โดยการใส่ลูกโป่งในหลอดเลือดแดงใหญ่(Intra Aortic Balloon Pump)
  • เครื่องกระตุ้นการเต้นของหัวใจชั่วคราวแบบภายนอก(External Pacemaker) และเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจ(Defibrillator)
  • เครื่องกระตุ้นการเต้นของหัวใจชั่วคราวแบบภายใน(Temporary Pacemaker)

 

บริการสำหรับผู้ป่วยนอก

  • พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจ
  • การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะพัก(EKG)
  • การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะออกกำลังกาย(Exercise Stress Test) เป็นการตรวจการทำงานของหัวใจโดยการเดินบนสายพานที่เคลื่อนที่ขณะเดียวกันก็บันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจและวัดความดันโลหิตระหว่างตรวจเพื่อหาความผิดปกติ
  • การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจชนิดพกพา 24 ชั่วโมง หรือ 48 ชั่วโมง(Ambulatory EKG Holter Monitor) การเต้นผิดจังหวะของหัวใจเกิดขึ้นนาน ๆ ครั้งทำให้ยากแก่การวินิจฉัย เมื่อผู้ป่วยมาตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจไม่พบการเต้นที่ผิดปกติจึงจำเป็นต้องรับการตรวจพิเศษเพื่อตรวจจับการเต้นที่ผิดจังหวะของหัวใจ
  • การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงผ่านทรวงอก(Trans Thoracic Echocradiography)
  • การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงผ่านหลอดอาหาร(Trans Esophageal Echocradiography)

 

ห้องตรวจสวนหัวใจ (Cath-Lab)

  • ห้องตรวจการสวนหัวใจเป็นห้องสำหรับการตรวจสวนหัวใจ(Cardiac Catheterization)
  • การตรวจวินิจฉัยโดยการฉีดสีตรวจหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Angiography = C.A.G.) เป็นการฉีดสารทึบแสงพร้อมกับใช้เครื่องเอกซเรย์ความเร็วสูงโดยใช้สายสวนเล็กสอดใส่เข้าหลอดเลือดย้อนขึ้นไปที่หัวใจ เพื่อตรวจลักษณะของหลอดเลือด
  • มัณฑนากรหลอดเลือดหัวใจโดยลูกโป่งถ่างขยายหลอดเลือดหัวใจตีบ(Percutaneous Coronary Intervention)
  • การถ่างขยายลิ้นหัวใจที่ตีบโดยการใช้ลูกโป่ง(Percutaneous Balloon Valvuloplasty)
  • การรักษาด้วยการฝังเครื่องกระตุ้นหัวใจด้วยไฟฟ้าชนิดถาวร(Permanent Pacemaker)
  • การรักษาด้วยเครื่องกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ(Automatic Implantable Cardioverter Defibrillator)
  • การตัดการลัดวงจรของคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เป็นสาเหตุให้หัวใจเต้นผิดปกติโดยคลื่นความถี่ของวิทยุ(Radiofrequency Catheter Ablation)
  • การปิดเส้นเลือดที่เกินปกติผ่านสายสวนหัวใจ(Trans Catheter Closured of Patent Duetus Arterioosus)
  • การปิดรูรั่วผนังกั้นห้องหัวใจผ่านสายสวนหัวใจ(Trans Catheter Closured of ASD / VSD)

 

ห้องผ่าตัดศัลยกรรมหัวใจ หลอดเลือดหัวใจและวิสัญญีวิทยาระบบหัวใจ

  • การผ่าตัด ตัดต่อ ทำทางเบี่ยงหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจ(Coronary Bypass Graft)
  • การผ่าตัดเปลี่ยนและซ่อมแซมลิ้นหัวใจ(Valvular Repair and Replacement)
  • การผ่าตัดปิดรูรั่วผนังกั้นห้องหัวใจช่องบนและช่องล่าง(Atrail Septum Defect and Ventricular Septum Defect Repair)
  • การผ่าตัดโรคหลอดเลือดโป่งพองของช่องอก(Aortic Aneurysm Repair)
  • การผ่าตัดแก้ไขโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดในผู้ป่วยเด็ก(Surgical Correction Of Congenital Heart Disease)

 

วอร์ดผู้ป่วยหนักโรคหัวใจ(Critical Cardiac Care Unit)

เป็นห้องสำหรับผู้ป่วยหนักทางด้านหัวใจโดยเฉพาะ ได้จัดแต่ละห้องแยกเป็นสัดส่วน รวมถึงบุคลากรในทีมการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจที่มีความชำนาญและความพร้อมในการดูแลผู้ป่วยหนักโรคหัวใจโดยเฉพาะ เพื่อการเฝ้าระวังคลื่นไฟฟ้าหัวใจโดยระบบมาตรฐานสากลตลอด 24 ชั่วโมง(Central EKG Monitoring) ด้วยเทคโนโลยีที่พัฒนาทำให้การดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ปลอดภัย ภายในประกอบไปด้วยอุปกรณ์เพื่อช่วยชีวิตต่างๆ เช่น.-

  • เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจชนิดอัตโนมัติ(Automatic Defibrillation)
  • เครื่องกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าชนิดชั่วคราวแบบภายใน(Temporary Pacemaker)
  • เครื่องกระตุ้นหัวใจด้วยไฟฟ้าชนิดชั่วคราวผ่านผนังทรวงอกแบบภายนอก(External Temporary Pacemaker)
  • เครื่องช่วยพยุงการทำงานของหัวใจโดยลูกโป่งในหลอดเลือดแดงใหญ่(Intra Aortic Balloon Pump) เป็นเครื่องมือที่ช่วยประคับประคองระบบไหลเวียนโลหิตในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตต่ำ ทำให้ปริมาณโลหิตที่ออกจากหัวใจไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย

 

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ(Cardiac Rehabilitation Center)

การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจหลังจากรักษาอาการทางหัวใจวายและการผ่าตัดหลอดเลือดหัวใจเป็นสิ่งสำคัญ ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ รพ.ธนบุรี ให้บริการภายใต้การควบคุมดูแลโดยแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูโรคหัวใจอย่างใกล้ชิดและอุปกรณ์ที่ทันสมัย ปลอดภัย

ผู้เชี่ยวชาญสาขาพิเศษ

  • ศ.นพ.พยงค์ จูฑา
    การศึกษา
    • Diplomat , American Broad of Internal Medicine
    • Diplomat , American Broad of Cardiovascular Disease
    • License for medical practice in the State of New York , USA
    • แพทย์ศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล
    • อนุติบัตร อายุรศาสตร์ทั่วไป (แพทย์สภา)
    • อนุติบัตร อายุรศาสตร์โรคหัวใจ (แพทย์สภา)
    พญ.พลอย เพ็งชะตา
    การศึกษา
    • แพทยศาสตร์บัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปี 2552
    • วุฒิบัตรอายุรศาสตร์หทัยวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปี 2561
    • วุฒิบัตรอายุรศาสตร์หทัยวิทยา สาขาหัตถการปฏิบัติรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปี 2564
    โหลดเพิ่ม
  • นพ.สมชาย ศรียศชาติ
    การศึกษา
    • Doctor of Medicine (MD.)Chiengmai University 1972
    • Certificatein Applied Medical Sciences ( Surgery ) Mahidol University 1974
    • Diplomate Thai Board of Cardiothoracic Surgery Mahidol University 1998
    • Certificate in Cardiothoracic Surgery
    • Hospital for sick Children Hospital , Toronto Canada 1982
    • Certificate of Temporary Registration , Medical Council of New Zealand
    • Greenlane Hospital ,Auckland , New Zealand 1983
    นพ.ณัฐพงษ์ เดชบุญทวีสุข
    การศึกษา
    • • แพทย์ศาสตร์บัณฑิต คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2558
    • • วุฒิบัตร อายุรศาสตร์ โรงพยาบาลพระปกเกล้า พ.ศ. 2562
    • • วุฒิบัตร อายุรศาสตร์โรคหัวใจ โรงพยาบาลตำรวจ พ.ศ. 2564
    นพ.ณัฐบุตร ศรีบุญวรกุล
    การศึกษา
    • แพทย์ศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยโรงพยาบาลศิริราช พ.ศ. 2555
    • อายุรกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยโรงพยาบาลรามาธิบดี พ.ศ. 2561
    พญ.อริศรา สุวรรณกูล
    การศึกษา
    พญ.รุ่งทิพย์ ชาญวนิชย์กุลชัย
    การศึกษา
    • แพทยศาสตร์บัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ.2549
    • วุฒิบัตร อายุรศาสตร์ รพ.ศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ.2555
    • วุฒิบัตร อายุรศาสตร์โรคหัวใจ รพ.ศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ.2557
    • อนุมัติบัตร สาขาคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ รพ.ศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ.2558
    พญ.ธนัญญา บุณยศิรินันท์
    การศึกษา
    • Doctor of Medicine (MD.) Mahidol University 1995
    • Certificate of Proficiency in Internal Medicine Mahidol University 2001
    • Fellowship in Cardiology Mahidol University 2003
    โหลดเพิ่ม

ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับแพทย์หัวใจ รวมถึงวันและเวลาออกตรวจคลินิกผู้ป่วยนอก กรุณาติดต่อสอบถามและนัดหมายได้ที่

  • แผนกศูนย์หัวใจ 02 487 2000  หรือ 1645 กด 1 ต่อ 2150 – 2155
  • ศูนย์ข้อมูลสุขภาพทางโทรศัพท์ 02 487 2000 ต่อ 2005 – 2007
  • โทรสาร 02 412 7343